“การชักตัวอย่างเพื่อประกันคุณภาพและความปลอดภัยอาหารในยุคโควิด-19”

ขอเรียนเชิญ QA, QC นักจุลชีววิทยา และผู้เกี่ยวข้องกับการชักตัวอย่าง เข้าร่วมเว็บบินาร์ “การชักตัวอย่างเพื่อประกันคุณภาพและความปลอดภาัยอาหารในยุคโควิด-19”

วันที่ 9-10 กันยายน พ.ศ. 2564

เวลา 10:00-12:00 น.

ลงทะเบียนฟรีได้ที่ https://forms.gle/YXyyXj2QQuoCbom98

วันที่ 9️⃣ กันยายน พ.ศ. 2564 เวลา 10:00-12:00 น. การชักตัวอย่างตามหลักสถิติเพื่อการประกันคุณภาพ โดย อาจารย์วิบูลย์ พงศ์พรทรัพย์

การประกันคุณภาพหมายถึงการทำให้ลูกค้าเกิดความมั่นใจในคุณภาพ แนวทางหนึ่งที่อุตสาหกรรมสนใจก็คือการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ

📍เมื่อพูดถึงการชักสิ่งตัวอย่าง หลายคนคงนึกถึง MIL-STD105E ซึ่งหลายองค์กรพบว่า หากใช้จำนวนตัวอย่างตามมาตรฐานนี้จะลำบากในทางปฏิบัติ เพราะจำนวนตัวอย่างค่อนข้างสูง หลายองค์กรจึงพยายามจะหาทางลดจำนวนสิ่งตัวอย่างลง

📍แนวทางหนึ่งที่จะทำให้จำนวนสิ่งตัวอย่างลดลงได้นั้นก็คือ การเลือกใช้แผนที่เหมาะสมกับคุณลักษณะของการตรวจสอบ เนื่องจาก MIL-STD105E เป็นมาตรฐานสำหรับการตรวจสอบแบบแอตทริบิวส์ซึ่งจำเป็นต้องใช้จำนวนตัวอย่างค่อนข้างมาก แต่ในกรณีที่การตรวจสอบเป็นแบบผันแปร เช่น ความแข็ง ความหนา ความเข้มข้น เราสามารถเลือกใช้มาตรฐานการชักสิ่งตัวอย่างสำหรับข้อมูลผันแปร เพื่อลดจำนวนสิ่งตัวอย่างลงได้

📍เนื้อหาบรรยาย
✏️ แนวคิดพื้นฐานของแผนการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
✏️ ความหมายของ AQL และ LQ
✏️ การรับประกันคุณภาพของผลิตภัณฑ์ด้วย AOQL
✏️ ความแตกต่างระหว่างแผนการชักสิ่งตัวอย่างแบบแอตทริบิวส์และผันแปร
✏️ แนะนำมาตรฐาน สำหรับการชักสิ่งตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
✏️ กฎการสลับเปลี่ยน
✏️ การประเมินแผนการชักสิ่งตัวอย่าง

วันที่ 🔟 กันยายน พ.ศ. 2564 เวลา 10:00-12:00 น. การเตรียมตัวอย่างอาหารเพื่อการทดสอบทางจุลชีววิทยา โดย ดร. สุพรรณี เทพอรุณรัตน์

📍 จุดเริ่มต้นของความถูกต้องและน่าเชื่อถือของผลการทดสอบทางจุลชีววิทยาของอาหาร

📍 เนื้อหาบรรยาย
✏️ ISO 19036:2019
✏️ Matrix uncertainty
✏️ Sampling, transport, receipt, storage
✏️ ISO 6887 – 1
✏️ ISO 6887 – 2
✏️ ISO 6887 – 3
✏️ ISO 6887 – 4

ดำเนินรายการโดย

คุณจตุพร สุทธินาค
Business Development Manager (VIPT)
Food & Pharma Industry – Microbiology Division
Thermo Fisher Scientific (Thailand) Co., Ltd.

เนื้อหาที่เข้มข้นนี้ส่งถึงคุณโดยเทอร์โม ฟิชเชอร์ ไซเอนทิฟิค และ KU-FIRST ศูนย์นวัตกรรมวิทยาการอาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

จัดโดยนิตยสารอินโนแล็บ

ข้อมูลเพิ่มเติม
– เรียนผ่าน Webex
– ลงทะเบียนฟรีได้ที่ https://forms.gle/YXyyXj2QQuoCbom98
– เว็บบินาร์ฮอตไลน์ 0625916596 หรือ ทางกล่องข้อความเพจ
– โปรดใส่ข้อมูลในแบบฟอร์มให้ถูกต้อง ในกรณีที่อีเมลตีกลับ เราจะติดต่อท่านทางหมายเลขโทรศัทพ์ที่ให้ไว้ แต่เราจะไม่สามารถโทรได้ ถ้าท่านเลือกไม่อนุญาตให้เราติดต่อท่านทางโทรศัพท์
– ในกรณีที่ท่านไม่อนุญาตให้เราส่งข้อมูลทางอีเมล ท่านจะไม่ได้รับลิงค์ Webex และเอกสารประกอบการสัมมนา ท่านสามารถชมการบรรยายได้ทางเพจผ่านลิงค์ยูทูป
– มีของขวัญสำหรับผู้ที่ร่วมสนุกระหว่างการอบรม